ประชาสังเคราะห์

#ความรู้อยู่ในหัวทุกคน ติดตาม PSK ได้ทุกช่องทาง ทั้งบล็อก, เฟซบุ๊ก, ทวิตเตอร์, อินสตาแกรม และบล็อกดิท สะดวกช่องทางไหน ติดตามได้ที่นั่น (อ่านต่อ)

READ MORE

ประชาสังเคราะห์
Register
Advertisement
Gnome globe current event
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด หรือดูหน้าอภิปรายประกอบ

นี้คือรายชื่อสถานีโทรทัศน์ที่ตั้งและออกอากาศในประเทศไทย

สถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน[]

แอนะล็อก[]

ช่องสัญญาณ ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) ชื่อภาษาอังกฤษ การเรียกขาน เจ้าของ เริ่มออกอากาศ ยุติการออกอากาศ
5 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 Royal Thai Army
Radio & Television Channel 5
HSATV 5 กองทัพบกไทย 25 มกราคม พ.ศ. 2501 21 มิถุนายน พ.ศ. 2561
(สถานีส่งกรุงเทพมหานคร)
7 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 BBTV Channel 7 HSATV 7 บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 16 มิถุนายน พ.ศ. 2561
9 ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี Channel 9 MCOT HD MCOT
(ชื่อเดิม:HS1-TV)
บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
11 สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT NBT กรมประชาสัมพันธ์ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
29 สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส Thai PBS TPBS องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย 15 มกราคม พ.ศ. 2551 15 มิถุนายน พ.ศ. 2561
32 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 Channel 3 HS-TV 3 บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 25 มีนาคม พ.ศ. 2563

ดิจิทัล[]

โครงข่ายส่งสัญญาณโทรทัศน์ดิจิทัล (MUX) และผู้ให้บริการ[]

ใช้ความถี่วิทยุระดับสูงยิ่ง หรือระบบยูเอชเอฟ(UHF) ตั้งแต่ช่อง 26 ถึงช่อง 60 (เลขช่องด้านล่างเป็นโครงข่ายในพื้นที่สถานีส่งกรุงเทพมหานคร)

  • โครงข่ายที่ 1 - กรมประชาสัมพันธ์ ใช้ช่อง 26
  • โครงข่ายที่ 2 - กองทัพบก โดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ใช้ช่อง 36
  • โครงข่ายที่ 3 - บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ใช้ช่อง 40
  • โครงข่ายที่ 4 - องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ใช้ช่อง 44
  • โครงข่ายที่ 5 - กองทัพบก โดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ใช้ช่อง 32 (เดิมใช้ช่อง 52)

สถานีโทรทัศน์ภาคบริการสาธารณะ[]

ช่องหมายเลข ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ เจ้าของ เริ่มออกอากาศ/เริ่มคู่ขนาน หมายเหตุ
1 (ว่าง) (เดิมคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (TV5 HD1))
2 สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT 2 HD กรมประชาสัมพันธ์ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี)
3 สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส Thai PBS HD องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย 1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี)
4 เอแอลทีวี ALTV องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (3 ปี) ภายใต้บันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่าง กสทช. และไทยพีบีเอส (ทดลองออกอากาศ)
5 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก TV5 HD กองทัพบกไทย 1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี)
6 (โทรทัศน์เพื่อส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม การเกษตร และการส่งเสริมอาชีพ) (ยังไม่ได้จัดสรรใบอนุญาต)
7 ทีสปอร์ต 7 T Sport 7 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 (2 ปี)
8 (โทรทัศน์เพื่อความมั่นคงของรัฐ) (ยังไม่ได้จัดสรรใบอนุญาต)
9 (โทรทัศน์เพื่อความปลอดภัยสาธารณะ) (ยังไม่ได้จัดสรรใบอนุญาต)
10 สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา TPTV สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 12 สิงหาคม พ.ศ. 2549 (17 ปี)
21 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (8 ปี) (ดิจิทัล)
11 สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ส่วนภูมิภาค NBT Local กรมประชาสัมพันธ์ แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาค
12 (โทรทัศน์เพื่อบริการข้อมูลข่าวสารสาธารณะ แก่คนพิการ คนด้อยโอกาส เด็กและเยาวชน) (ยังไม่ได้จัดสรรใบอนุญาต)

สถานีโทรทัศน์ภาคบริการธุรกิจ[]

ช่องหมายเลข ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ เจ้าของ เริ่มออกอากาศ/เริ่มคู่ขนาน หมายเหตุ
ประเภทรายการเด็ก เยาวชน และครอบครัว
13 (ว่าง) เดิมคือ ช่อง 3 แฟมิลี่
14 (ว่าง) เดิมคือ เอ็มคอตแฟมิลี่
15 (ว่าง) เดิมคือช่อง โลกา/เอ็มวีทีวีแฟมิลี (1 เมษายน พ.ศ. 2557–3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558)
ประเภทรายการข่าวสาร และสาระ
16 ทีเอ็นเอ็น 16 TNN16 บริษัท ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ก (ทีเอ็นเอ็น) จำกัด 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 (34 ปี)
1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี) (ดิจิทัล)
ชื่อเดิม ไอบีซี 1, ยูบีซี นิวส์, นิวส์ 24, ทีเอ็นเอ็น 24
17 (ว่าง) เดิมคือช่อง ทีวีพูล แชนแนล, ทีเอชวี, ไทยทีวี (1 เมษายน พ.ศ. 2557–3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558)
18 เจเคเอ็น 18 JKN 18 บริษัท เจเคเอ็น เบสท์ ไลฟ์ จำกัด
(ชื่อเดิม: บริษัท ดีเอ็น บรอดคาซท์ จำกัด)
ชื่อเดิม เดลินิวส์ทีวี, นิวทีวี, นิว 18
19 (ว่าง) เดิมคือช่อง สปริงนิวส์
20 (ว่าง) เดิมคือช่อง ไบรท์ทีวี
21 (ว่าง) เดิมคือช่อง วอยซ์ทีวี
22 เนชั่นทีวี Nation TV บริษัท เอ็นบีซี เน็กซ์ วิชั่น จำกัด 1 มิถุนายน พ.ศ. 2543 (23 ปี)
1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี) (ดิจิทัล)
ชื่อเดิม เนชั่นแชนแนล
ประเภทรายการทั่วไป ภาพคมชัดปกติ (SD)
23 ช่องเวิร์คพอยท์ Workpoint บริษัท ไทย บรอดแคสติ้ง จำกัด 9 กันยายน พ.ศ. 2554 (12 ปี)
1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี) (ดิจิทัล)
24 ทรูโฟร์ยู True4U บริษัท ทรูโฟร์ยู สเตชั่น จำกัด 1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี)
25 จีเอ็มเอ็ม 25 GMM 25 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล จำกัด 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 (9 ปี) ชื่อเดิม ช่องบิ๊ก, จีเอ็มเอ็ม แชนแนล
26 (ว่าง) เดิมคือช่อง กรุงเทพธุรกิจทีวี > นาว 26 > สปริง 26
27 ช่อง 8 Channel 8 บริษัท อาร์เอส เทเลวิชั่น จำกัด 5 มกราคม พ.ศ. 2554 (13 ปี)
25 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี)(ดิจิทัล)
28 (ว่าง) เดิมคือช่อง 3 เอสดี
29 โมโน 29 MONO29 บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด 29 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี)
ประเภทรายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง (HD)
30 ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี Channel 9 MCOT HD บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 (68 ปี)
1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี) (ดิจิทัล)
31 ช่องวัน 31 One 31 บริษัท วัน สามสิบเอ็ด จำกัด 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554 (12 ปี)
1 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี) (ดิจิทัล)
ชื่อเดิม วันสกาย-1, จีเอ็มเอ็มแซท ฮิตส์, จีเอ็มเอ็มวัน
32 ไทยรัฐทีวี Thairath TV บริษัท ทริปเปิลวี บรอดคาสท์ จำกัด 24 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี)
33 ช่อง 3 เอชดี 3 HD บริษัท บีอีซี มัลติมีเดีย จำกัด 26 มีนาคม พ.ศ. 2513
25 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี)(ดิจิทัลครั้งที่ 1)
2014.10.10 (10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (9 ปี)) (คู่ขนาน)
34 อมรินทร์ทีวี Amarin TV บริษัท อมรินทร์ เทเลวิชั่น จำกัด 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 (9 ปี) ชื่อเดิมคือ อมรินทร์แอคทีฟทีวี
35 ช่อง 7 เอชดี Channel 7 HD บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510
25 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี) (ดิจิทัล)
36 พีพีทีวี PPTV HD บริษัท บางกอก มีเดีย แอนด์ บรอดคาสติ้ง จำกัด 7 เมษายน พ.ศ. 2557 (9 ปี) เดิมออกอากาศผ่านดาวเทียมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556

สถานีโทรทัศน์ภาคบริการชุมชน[]

ขณะนี้ยังไม่มีการจัดสรรใบอนุญาตโทรทัศน์ภาคบริการชุมชน

สถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก[]

ส่วนกลาง[]

  • ทรูวิชันส์ - ดำเนินการโดย บริษัท ทรู วิชั่นส์ กรุ๊ป จำกัด ในเครือทรู คอร์ปอเรชั่น ออกอากาศด้วยระบบเคเบิล (CAtv) และระบบดาวเทียม (DStv) จำนวนรวมมากกว่า 120 ช่องรายการ (23 มกราคม พ.ศ. 2550 (17 ปี))

ส่วนภูมิภาค[]

สถานีโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม[]

สถานีเครือข่าย (มากกว่า 1 ช่องรายการ)[]

สถานีเดี่ยว (1 ช่องรายการ)[]

สถานีโทรทัศน์ในส่วนภูมิภาค[]

กรมประชาสัมพันธ์ ริเริ่มโครงการก่อตั้ง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย เครือข่ายในส่วนภูมิภาค จำนวน 12 แห่ง ทั่วประเทศ ในจังหวัดต่าง ๆ ดังนี้

  • จังหวัดกาญจนบุรี - ยูเอชเอฟ ช่อง 38
  • จังหวัดขอนแก่น - ยูเอชเอฟ ช่อง 26
  • จังหวัดจันทบุรี - ยูเอชเอฟ ช่อง 38
  • จังหวัดเชียงใหม่ - วีเอชเอฟ ช่อง 11
  • จังหวัดตรัง - วีเอชเอฟ ช่อง 12
  • จังหวัดนครศรีธรรมราช - วีเอชเอฟ ช่อง 5
  • จังหวัดพิษณุโลก - วีเอชเอฟ ช่อง 7
  • จังหวัดภูเก็ต - วีเอชเอฟ ช่อง 5
  • จังหวัดยะลา - วีเอชเอฟ ช่อง 12
  • จังหวัดสงขลา - วีเอชเอฟ ช่อง 10
  • จังหวัดสุราษฎร์ธานี - วีเอชเอฟ ช่อง 12
  • จังหวัดอุบลราชธานี - ยูเอชเอฟ ช่อง 33

สถานีโทรทัศน์ในอดีต[]

สถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (ส่วนกลาง)[]

ช่องสัญญาณ ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อย่อ เจ้าของ เริ่มออกอากาศ สิ้นสุดออกอากาศ สาเหตุ
26→29 สถานีโทรทัศน์ไอทีวี Independent Television iTV บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) 1996.7.1 (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539) 19:00 น. 2007.3.7 (7 มีนาคม พ.ศ. 2550) 23:59 น.
(อายุ 10 ปี 248 วัน 5 ชั่วโมง)
เปลี่ยนชื่อเป็น สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี
29 สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี Thai Independent Television TITV กรมประชาสัมพันธ์ 2007.3.8 (8 มีนาคม พ.ศ. 2550) 00:00 น. 2008.1.15 (15 มกราคม พ.ศ. 2551) 00:08 น.
(อายุ 10 เดือน 7 วัน 8 นาที)
แทนที่โดย สถานีโทรทัศน์ทีพีบีเอส

โทรทัศน์ในระบบดิจิทัล[]

  • สถานีโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (ช่อง 37–51) (สิ้นสุดการทดลองออกอากาศ)
  • สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ช่อง 52) (สิ้นสุดการทดลองออกอากาศ)
  • วีอีซี ทีวี (ช่อง 53) (สิ้นสุดการทดลองออกอากาศ)

สถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก[]

  • ซีทีเอช - ดำเนินการโดย บริษัท ซีทีเอช จำกัด (มหาชน) (ชื่อเดิม: บริษัท เคเบิล ไทย โฮลดิ้ง จำกัด) ออกอากาศด้วยระบบเคเบิลใยแก้ว และระบบดาวเทียม จำนวนรวมมากกว่า 150 ช่องรายการ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 – 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (6 ปี))

อ้างอิง[]

ดูเพิ่ม[]

  • โทรทัศน์ในประเทศไทย
  • ประวัติศาสตร์สถานีโทรทัศน์


Advertisement